บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST ซึ่งการทดสอบหาค่าขนาดความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST นั้นจะต้องเริ่มต้นจากการที่เราจะต้องมีข้อมูลหรือหากไม่มีข้อมูลใดๆเลย ต้องทำการคาดเดาก่อนว่าเสาเข็มต้นที่เราต้องการจะทำการทดสอบนั้นจะมีความลึกประมาณเท่าใด หลังจากนั้นก็ให้ทำการสร้างหลุมเจาะขึ้นมาโดยให้อยู่ภายในรัศมีไม่เกินประมาณ 1500 มม. จากตำแหน่งของโครงสร้างเสาเข็มที่เราต้องการที่จะทำการทดสอบ ต่อมาเราจะอาศัยการส่งถ่ายสัญญาณในลักษณะคลื่นลงไป ซึ่งเราจะค่อยๆ ทำการส่งผ่านให้คลื่นดังกล่าวนั้นเดินทางลงไปในโครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสาเข็มโดยที่เรามักจะใช้อุปกรณ์จำพวกค้อนกระแทกให้ทำหน้าที่เป็นตัวออกแรงกระแทกเพื่อที่จะได้ส่งสัญญาณคลื่นนี้ลงไป (โดยที่มีข้อแม้อยู่นิดหนึ่งว่า ด้านบนของโครงสร้างฐานรากหรือโครงสร้างเสาตอม่อนั้นจะต้องมีความต่อเนื่องกันกับโครงสร้างเสาเข็ม) … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนัก ของเสาเข็ม ด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม เป็นการทดสอบที่ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์วัดสัญญาณ จะวัดสัญญาณและแสดงผลในรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงแรงเทียบกับเวลาและการเปลี่ยนแปลงความเร็วเทียบกับเวลา โดยอุปกรณ์หลักจะประกอบไปด้วยหัววัดสัญญาณ … Read More

ชนิด และ ประเภทของเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spunmicropile

ชนิด และ ประเภทของเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spunmicropile เสาเข็มมีมากมายหลายชนิด และหลายประเภทตามรูปแบบการก่อสร้าง โดยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE) ของทางภูมิสยามถูกจำแนกให้อยู่ในประเภท เสาเข็มตอก (DRIVEN PILE) คือ การใช้ปั้นจั่นทำการตอกเสาเข็มลงไปในดินจนได้ความลึกตามที่ต้องการ วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากวิธีการก่อสร้างไม่ซับซ้อน … Read More

การทดสอบเสาเข็ม

การทดสอบเสาเข็ม ประเภทของการทดสอบเสาเข็มสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีการหลักๆ คือ 1. การทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (PILE INTEGRITY TEST) โดยวิธี SEISMIC TEST ซึ่งข้อจำกัดของการทดสอบโดยวิธีนี้ คือ ใช้ได้เฉพาะกับ เสาเข็มเจาะ หรือ เสาเข็มตอกที่มีจำนวนท่อนเพียง 1 … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ตอกภายในอาคาร เพิ่มมาตรฐานการรับน้ำหนักให้โครงสร้างเดิม

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ตอกภายในอาคาร เพิ่มมาตรฐานการรับน้ำหนักให้โครงสร้างเดิม ตอกเสาเข็มปรับปรุงอาคาร เพิ่มมาตรฐานการรับน้ำหนักให้กับโครสร้างภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และเสาเข็มไอไมโครไพล์ ภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากของอาคาร โรงงาน และงานปรับปรุงโครงสร้าง ที่ต้องการความั่นคงแข็งแรงสูง เพราะ เสาเข็มผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา สามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย … Read More

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I-Micropile เพื่อเสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I-Micropile เพื่อเสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ เสาเข็มขนาดเล็ก ที่ลูกค้าส่วนใหญ่เลือกใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และไอไมโครไพล์ ไม่ได้มีดีแค่งานต่อเติม แต่ยังสามารถเสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ได้ ป้องกันการทรุดตัว และเพิ่มความแข็งแรงให้กับโครงสร้างอาคาร สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load … Read More

เสริมกำลังการรับน้ำหนัก ให้กับฐานรากของโครงสร้างอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile

เสริมกำลังการรับน้ำหนัก ให้กับฐานรากของโครงสร้างอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile อาคารที่ผ่านการใช้งาน เมื่อเวลาผ่านไปโครงสร้างอาคารย่อมมีการเสื่อมสภาพไปตามกาลเวลา ควรมีการเสริมกำลังในการรับน้ำหนักของฐานราก เพื่อปรับปรุงโครงสร้าง และต้องอยู่ภายใต้การดูแลของวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งวิธีในการเสริมความแข็งแรงให้กับโครงสร้างและฐานราก อาจใช้ได้หลายวิธี ตามความเหมาะสม แต่วิธีที่ตอบโจทย์มากที่สุด เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม มีการออกแบบฐานรากโดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ เพื่อให้การออกแบบสิ่งก่อสร้างต่าง … Read More

ต่อเติมโรงงาน เพื่อขยายโรงงาน เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun micropile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I Micropile ภูมิสยาม

ต่อเติมโรงงาน เพื่อขยายโรงงาน เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun micropile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I Micropile ภูมิสยาม จะต่อเติมโรงงาน จะต้องเลือกใช้เสาเข็มที่มีคุณภาพสูง ตอกเพื่อเสริมฐานราก ให้มีความมั่งคงแข็งแรง และจะต้องเลือกเสาเข็มประเภทที่เหมาะกับหน้างาน และการรับน้ำหนัก ต้องเป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิศวกรรม โดยเสาเข็ม สามารถต้านทานน้ำหนักได้โดยมี … Read More

เมื่อตอกเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก ลงไปในดิน จะมีปัญหาเรื่องการเกิดสนิมหรือไม่

เมื่อตอกเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก ลงไปในดิน จะมีปัญหาเรื่องการเกิดสนิมหรือไม่ สนิมเหล็ก คือสารประกอบระหว่างเหล็กกับออกซิเจน มีชื่อทางเคมีคือ ไฮเดรตเฟอริกออกไซด์ (Fe2O3.XH2O3) ลักษณะเป็นคราบสีแดง ซึ่งไม่สามารถเกาะอยู่บนผิวของเหล็กได้อย่างเหนียวแน่น สามารถหลุดออกไปได้ง่าย ทำให้เนื้อเหล็กที่อยู่ชั้นในสามารถเกิดสนิมต่อไปจนกระทั่งหมดทั้งชิ้น กระบวนการเกิดสนิมเหล็กค่อนข้างซับซ้อน โดยมีปัจจัยหลักก็คือ น้ำและออกซิเจน วิธีการป้องกันเหล็กไม่ให้เกิดสนิมมีอยู่หลายวิธี เช่น การเคลือบผิวเหล็ก เพื่อป้องกันมิให้เนื้อเหล็กสัมผัสกับน้ำและอากาศโดยตรง อาจทำได้หลายวิธี … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง MatrixAnalysisOfStructure

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้แจ้งกับผมมาว่า เค้าอยากจะให้ผมอธิบายถึงเรื่องหลักการของ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า FEA … Read More

1 12 13 14 15 16 17 18 19