การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น 1. สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว 2. ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ 3. ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม … Read More

ตอกรับพื้นถนน ด้วยเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม

เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ตอกรับพื้นถนน เพื่อความมั่นคงแข็งแรงไม่ทรุดตัว เสาเข็มไอไมโครไพล์ เสาเข็มรูปตัวไอ เป็นเสาเข็มเพื่อการก่อสร้างและต่อเติม เพื่อแก้ปัญหาการทรุดตัว และเหมาะสำหรับใช้เป็นฐานราก ตลอดจนงานปรับปรุงโครงสร้างหรือฐานรากที่ต้องการเสริมความมั่นคงแข็งแรง และเสาเข็มไอไมโครไพล์ ก็เป็นอีกทางเลือกสำหรับงานตอกรับพื้นถนน ที่ต้องการรับน้ำหนักหนักปลอดภัย ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม และการตอกเสาเข็มไอไมโครไพล์ของทางภูมิสยาม มีวิศวกรกำกับดูแลงาน ตลอดจนทีมช่างตอกเสาเข็มที่มีประสบการณ์ มีการทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load … Read More

การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต (SLUMP TEST) คืออะไร??

การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต (SLUMP TEST) คืออะไร?? การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต ใช้เพื่อทดสอบหาค่าความข้นเหลวของคอนกรีตในสภาพเหลวโดยใช้วิธีการทดสอบหาค่าการยุบตัว เพื่อตรวจสอบความสามารถเทได้ของคอนกรีต (Workability) ค่ายุบตัวไม่ได้เป็นค่าที่วัดความสามารถเทได้ของคอนกรีตโดยตรง แต่เป็นการวัดความข้นเหลวของคอนกรีต (Consistency) หรือลักษณะการไหลตัวของคอนกรีต (Flow Characteristic) แม้วิธีนี้จะไม่เหมาะสมสำหรับทดสอบคอนกรีตที่เหลว หรือแห้งมากแต่ก็มีประโยชน์อย่างมากและสะดวกสำหรับการควบคุมความสม่ำเสมอของการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เช่น ในกรณีที่ค่ายุบตัวของคอนกรีตมีค่ามากกว่าปกติที่ออกแบบไว้ แสดงให้เห็นว่าจะต้องมีความผิดปกติเกิดขึ้นในสัดส่วนผสม ขนาดคละหรือความชื้นในมวลรวมซึ่งจะช่วยให้ผู้ผลิตคอนกรีตสามารถตรวจสอบและแก้ไขได้ … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มที่ตอบโจทย์เรื่องการรับน้ำหนัก และฐานรากที่มั่นคง

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มที่ตอบโจทย์เรื่องการรับน้ำหนัก และฐานรากที่มั่นคง อาคารที่โครงสร้างมีน้ำหนักสูง ควรมีฐานรากที่มั่นคงและการรับน้ำหนักปลอดภัย ภูมิสยาม เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่ตอบโจทย์ในเรื่องของการรับน้ำหนัก เพราะถูกออกแบบมาให้สามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) โดยเสาเข็มมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าเสาเข็มคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา และเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใชั้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล และการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล และการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG 1) เพื่อประเมินความเหมาะสมของพื้นที่ ในโครงการก่อสร้าง ขั้นตอนในการทำ BORING LOG เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการทำงานก่อสร้างในโครงการหนึ่งๆ 2) เพื่อให้การออกแบบเป็นไปด้วยความ ประหยัด และ ถูกต้อง ทั้งงานหลักของโครงการ งานก่อสร้างชั่วคราว งานปรับปรุงคุณภาพดิน และการควบคุมน้ำใต้ดิน … Read More

สร้างใหม่ ฐานรากจะมั่นคงหรือไม่ขึ้นอยู่กับเสาเข็ม ภูมิสยามเราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile)

สร้างใหม่ ฐานรากจะมั่นคงหรือไม่ขึ้นอยู่กับเสาเข็ม ภูมิสยามเราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สำหรับงานสร้างใหม่ เสาเข็มเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะเป็นตัวรับน้ำหนักฐานรากและโครงสร้างทั้งหมดลงสู่ชั้นดิน และการตอกเสาเข็มจะต้องตอกให้ลึกถึงชั้นดินดาน หรือให้ได้ความลึกตาม BLOW COUNT ที่กำหนด เพื่อการรับน้ำหนักปลอดภัย และถูกต้องตามหลักวิศวกรรม โดยการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของทางภูมิสยาม มีวิศวกรกำกับดูแลงานหน้างาน และทีมช่างตอกที่มีประสบการณ์ เพื่อให้การตอกเสาเข็มเป็นไปอย่างถูกต้องได้มาตรฐาน … Read More

ขั้นตอนและวิธีการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE) เสาเข็มที่เป็นได้มากกว่าการต่อเติม

ขั้นตอนและวิธีการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE) เสาเข็มที่เป็นได้มากกว่าการต่อเติม -ย้ายตัวปั่นจั่นให้เข้าที่ เพื่อให้ตรงกับตำแหน่งที่จะทำการลงเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และหลังจากนั้นจะทำการทดสอบโดยการทิ้งลูกดิ่งเพื่อหาจุดศูนย์กลางว่าได้ระยะดิ่งตรงกลางระหว่าง cap pile กับหมุดศูนย์ที่กำหนดไว้หรือไม่ -ทิ้งลูกดิ่งเพื่อหาจุดศูนย์กลางว่าได้ระยะดิ่งตรงกลางระหว่าง cap pile กับหมุดศูนย์ที่กำหนดไว้หรือไม่ -นำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ท่อนแรกไปวางในตำแหน่งที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องโดยการจับระดับด้วยมาตรวัดระดับน้ำเพื่อให้ได้แนวดิ่ง ทั้งแกน x และ … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์คืออะไร?? นอกจากงานต่อเติมแล้ว สามารถใช้ในงานสร้างใหม่ได้หรือไม่??

เสาเข็มสปันไมโครไพล์คืออะไร?? นอกจากงานต่อเติมแล้ว สามารถใช้ในงานสร้างใหม่ได้หรือไม่?? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่เป็นที่นิยมในการต่อเติม เพราะด้วยขนาดของเสาเข็ม และปั้นจั่นที่ใช้ ทำให้สามารถเข้าตอกในพื้นที่จำกัดได้สะดวก ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย จึงไม่สงผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม และนอกจากการต่อเติม เสาเข็มชนิดนี้ยังสามารถใช้ในงานสร้างใหม่ได้ เป็นเสาเข็มที่ถูกออกแบบมาเพื่อการรับน้ำหนัก โดยสามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) และถึงแม้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ จะมีความยาวเพียง 1.5 … Read More

วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม FOUNDATION

วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม ก่อนอื่นจะต้องทราบก่อนว่า กำลังออกแบบให้โครงสร้างฐานรากของเรานั้นมีสมมติฐานเป็นแบบใดระหว่าง “ฐานรากที่มีความอ่อนตัว FLEXIBLE FOUNDATION” หรือว่าเป็น “ฐานรากที่มีความแข็งตัว RIGID FOUNDATION” พอทราบสมมติฐานข้างต้นแล้ว ก็จะมีเกณฑ์ในเรื่องของการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด หากว่าโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นฐานรากที่มีความอ่อนตัว สำหรับกรณีนี้จะไม่มีข้อจำกัดเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด เพราะโครงสร้างฐานรากก็จะต้องเกิดการเสียรูปได้อยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่มีความจำที่จะต้องทำการคำนึงถึงเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด หากว่าโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นฐานรากที่มีความแข็งตัว สำหรับกรณีนี้จะต้องพิจารณาเรื่องข้อจำกัดในเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด เพราะว่าเวลาออกแบบโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยสมมติฐานนี้นั่น ก็เท่ากับว่ากำลังอาศัยทฤษฎีของแผ่นเปลือกหนาหรือ … Read More

ต้องการสร้างใหม่ สามารถเลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ขนาดเล็ก ได้หรือไม่??

ต้องการสร้างใหม่ สามารถเลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ขนาดเล็ก ได้หรือไม่?? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มขนาดเล็ก ที่เหมาะสำหรับการตอกเพื่อรับน้ำหนัก ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นฐานรากที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรง และด้วยเสาเข็มที่มีลักษณะกลวง โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ ลดแรงสั่นสะเทือนขณะตอก ภายในของเสาเข็มมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบทำให้เสาเข็มมีความแข็งแรงสูง ขนาดของเสาเข็มมีความยาวเพียง 1.5 เมตร เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงพื้นที่หน้างาน และปั้นจั่นที่ใช้ตอกถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ ให้มีขนาดพอดีสำหรับตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์โดยเฉพาะ โดยการตอกเสาเข็มจะตอกต่อกันทีละท่อน และสามารถเชื่อมต่อกันได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า … Read More

1 2 3 4 5 6 7 8 19