บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F2 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น 1. สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว 2. ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ 3. ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม … Read More

เทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

โครงการ “ต้นกล้า” เพื่อการเรียนรู้ – ไทยโพสต์

posted in: Social Responsibility

โครงการ “ต้นกล้า” เพื่อการเรียนรู้ เป็นโครงการเพื่อ เปิดโอกาสทางการเรียนรู้เทคโนโลยี ในการผลิต เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ในโรงงานผลิตจริงให้แก่นักศึกษา ทุกสถาบัน วันนี้ ภูมิสยาม ซัพพลาย ได้เปิดโรงงานต้อนรับ คณะอาจารย์และนักศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เข้าดูงานผลิตเสาเข็มครบวงจร ตั้งแต่ขั้นตอนการทำใส้เสาเข็ม การผสมคอนกรีตด้วยระบบคอมพิวเตอร์ … Read More

การทดสอบเสาเข็ม

การทดสอบเสาเข็ม ประเภทของการทดสอบเสาเข็มสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีการหลักๆ คือ 1. การทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (PILE INTEGRITY TEST) โดยวิธี SEISMIC TEST ซึ่งข้อจำกัดของการทดสอบโดยวิธีนี้ คือ ใช้ได้เฉพาะกับ เสาเข็มเจาะ หรือ เสาเข็มตอกที่มีจำนวนท่อนเพียง 1 … Read More

การรับน้ำหนักบรรทุกของ ฐานรากแบบเสาเข็ม (Pile Foundation)

การรับน้ำหนักบรรทุกของ ฐานรากแบบเสาเข็ม (Pile Foundation) การวิบัติของเสาเข็ม การวิบัติของเสาเข็ม จะเกิดขึ้นได้เมื่อรับน้ำหนักบรรทุกเกินผลรวมของกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ปลาย กับกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ผิวของเสาเข็ม แต่ในความเป็นจริงแล้ว แรงต้านจะเกิดขึ้นเมื่อเสาเข็มถูกกระทำจนเกิดการเคลื่อนที่ แรงต้านที่ผิวจะเกิดเมื่อเสาเข็มเคลื่อนตัว 5-10 มม. แต่แรงต้านที่ปลายต้องการการเคลื่อนที่ที่สูงกว่ามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นเสาเข็มเจาะ อาจสูงถึงร้อยละสิบของขนาดเสาเข็ม ดังนั้น ในการออกแบบจึงมักประมาณกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มจากแรงเสียดทานเท่านั้น ยกเว้นในกรณีที่ตัวเสาเข็มอยู่ในชั้นดินอ่อนและปลายอยู่ในชั้นดินแข็งอย่างชัดเจนจึงนำกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ปลายมาคำนวณด้วย กำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มตอก (Driven … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์คืออะไร?? นอกจากงานต่อเติมแล้ว สามารถใช้ในงานสร้างใหม่ได้หรือไม่??

เสาเข็มสปันไมโครไพล์คืออะไร?? นอกจากงานต่อเติมแล้ว สามารถใช้ในงานสร้างใหม่ได้หรือไม่?? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่เป็นที่นิยมในการต่อเติม เพราะด้วยขนาดของเสาเข็ม และปั้นจั่นที่ใช้ ทำให้สามารถเข้าตอกในพื้นที่จำกัดได้สะดวก ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย จึงไม่สงผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม และนอกจากการต่อเติม เสาเข็มชนิดนี้ยังสามารถใช้ในงานสร้างใหม่ได้ เป็นเสาเข็มที่ถูกออกแบบมาเพื่อการรับน้ำหนัก โดยสามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) และถึงแม้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ จะมีความยาวเพียง 1.5 … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile เป็นเสาเข็มที่นิยมมากในงานก่อสร้างต่างๆ ไม่ว่าจะต่อเติม เสิรมฐานราก หรืองานสร้างใหม่

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile เป็นเสาเข็มที่นิยมมากในงานก่อสร้างต่างๆ ไม่ว่าจะต่อเติม เสิรมฐานราก หรืองานสร้างใหม่ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ตอบโจทย์การก่อสร้างมากที่สุด ไม่ว่าจะต่อเติม หรือสร้างใหม่ โดยภายในของเสาเข็มมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ และมีเนื้อคอนกรีตที่หนาแน่นจากนวัตกรรมการผลิตโดยในแรงเหวี่ยงในแบบหล่อ มีความสามารถในการรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) และยังมีข้อดีในเรื่องลดแรงสั่นสะเทือนขณะตอก และความสะดวกในการเข้าตอกในพื้นที่หน้างาน โดยทางภูมิสยามมีวิศวกรควบคุมดูแลการผลิตให้คำปรึกษา … Read More

ต่อเติมในโรงงาน ตอกรับพื้น ตอกรับฐานเครื่องจักร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile)

posted in: PILE DRIVING

ต่อเติมโรงงาน ต้องการคุณภาพแนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (ผลิตจากการสปัน) เป็นเสาเข็มขนาดเล็กที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลางสามารถระบายดินทำให้ลดแรงสั่นสะเทือนระหว่างตอกได้ ไม่กระทบฐานรากเดิม และเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใชั้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก ทำให้สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็งได้ รองรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานวิศวกรรมการก่อสร้าง และทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test เสาเข็มได้รับมาตรฐานการออกแบบการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และการตอกได้มาตรฐานชีวอนามัยด้านความปลอดภัย ISO … Read More

ชนิดและประเภทของระบบของโครงสร้างแผ่นพื้น – แผ่นพื้นไม้เทียม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อช่วงเวลาที่ผ่านมานั้นผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดและประเภทของระบบของโครงสร้างแผ่นพื้นมาแชร์เป็นความรู้กับเพื่อนๆ ทุกครั้งที่ผมมีโอกาสได้เดินทางไปยังสถานที่ก่อสร้างใดๆ ก็ตามแต่ผมก็พยายามที่จะเก็บและนำเอารูปถ่ายจากโครงสร้างจริงๆ เอามาฝากกับเพื่อนๆ ซึ่งในวันนี้ก็เช่นกัน เนื่องด้วยผมบังเอิญมีโอกาสได้ผ่านไปยังห้างคอมมิวนิตี้มอลล์แห่งหนึ่งซึ่งบริเวณด้านหน้าของห้างแห่งนี้มีการติดตั้งระบบแผ่นพื้นๆ หนึ่งเข้าไปบนโครงสร้าง ซึ่งเจ้าระบบแผ่นพื้นนี้ผมยังไม่เคยได้นำเอาอธิบายกับเพื่อนๆ นะแต่เป็นเพราะผมเห็นว่ามีความน่าสนใจดี ผมจึงตัดสินมจที่จะบันทึกภาพไว้และนำเอามาฝากกับเพื่อนๆ ในวันนี้ครับ ระบบของแผ่นพื้นที่ว่านี้ก็คือ … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 19