บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ภูมิสยาม ผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรอง คุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG – ข่าวกรุงเทพธุรกิจ

posted in: Bhumisiam News

ผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรอง คุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย พร้อมบริการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศไทยเยอรมัน ให้การต้อนรับ … Read More

การเลือกใช้งานระบบฐานรากเสาเข็ม

การเลือกใช้งานระบบฐานรากเสาเข็ม ในการใช้งานเสาเข็ม เพื่อให้เสาเข็มในอาคารนั้น มีกำลังในการรับน้ำหนักที่สูงที่สุด และมีการทรุดตัวของเสาเข็มที่น้อยที่สุดด้วย หากเลือกระหว่างการเลือกใช้งานระบบ ฐานรากแบบเสาเข็มเดี่ยว SINGLE PILE กับระบบ ฐานรากแบบเสาเข็มกลุ่ม GROUP PILES แนะนำให้ใช้เป็นระบบ ฐานรากแบบเสาเข็มเดี่ยว เพราะ หากเลือกอาศัยระบบ ฐานรากแบบเสาเข็มกลุ่ม จะพบว่า กำลังในการรับน้ำหนักของเสาเข็มกลุ่มนั้นจะมีค่าที่ … Read More

ต่อเติมบ้านด้วย เสาเข็มไอไมโครไพล์ ภูมิสยามพร้อมให้บริการค่ะ

posted in: PILE DRIVING

คิดจะต่อเติมบ้าน ต้องตอกเสาเข็มเพื่อป้องกันการทรุด หน้างาน สะอาด สะดวก รวดเร็ว แนะนำใช้เสาเข็ม ไอไมโครไพล์ เสาเข็มเราประสิทธิภาพสูง แข็งแรง และตอบโจทย์การก่อสร้างในพื้นที่จำกัด ภูมิสยามผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I Micropile เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยามช่วยแก้ปัญหาการก่อสร้างต่อเติมหรือสร้างใหม่สะดวกสะอาดรวดเร็วค่ะ … Read More

สร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มที่มีความมั่นคงแข็งแรง การรับน้ำหนักถูกต้องตามหลักวิศวกรรม

สร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มที่มีความมั่นคงแข็งแรง การรับน้ำหนักถูกต้องตามหลักวิศวกรรม สร้างใหม่ ก่อนลงเสาเข็ม ต้องมีการเจาะสำรวจดิน เพราะดินในแต่ละพื้นที่ มีระดับของชั้นดินที่ไม่เท่ากัน หากตอกเสาเข็มโดยที่ไม่มีการเจาะสำรวจดิน อาจส่งผลให้เกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน และต้องมีการทำรายการคำนวณ และได้รับคำแนะนำ จากวิศวกรมืออาชีพ … Read More

การรับน้ำหนักบรรทุกของ ฐานรากแบบเสาเข็ม (Pile Foundation)

การรับน้ำหนักบรรทุกของ ฐานรากแบบเสาเข็ม (Pile Foundation) การวิบัติของเสาเข็ม การวิบัติของเสาเข็ม จะเกิดขึ้นได้เมื่อรับน้ำหนักบรรทุกเกินผลรวมของกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ปลาย กับกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ผิวของเสาเข็ม แต่ในความเป็นจริงแล้ว แรงต้านจะเกิดขึ้นเมื่อเสาเข็มถูกกระทำจนเกิดการเคลื่อนที่ แรงต้านที่ผิวจะเกิดเมื่อเสาเข็มเคลื่อนตัว 5-10 มม. แต่แรงต้านที่ปลายต้องการการเคลื่อนที่ที่สูงกว่ามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นเสาเข็มเจาะ อาจสูงถึงร้อยละสิบของขนาดเสาเข็ม ดังนั้น ในการออกแบบจึงมักประมาณกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มจากแรงเสียดทานเท่านั้น ยกเว้นในกรณีที่ตัวเสาเข็มอยู่ในชั้นดินอ่อนและปลายอยู่ในชั้นดินแข็งอย่างชัดเจนจึงนำกำลังรับน้ำหนักบรรทุกที่ปลายมาคำนวณด้วย กำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มตอก (Driven … Read More

เทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

ความสำคัญของการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงทางด้านข้างของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่แฟนเพจท่านหนึ่งที่เคยได้ให้ความกรุณาสอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับประเด็นๆ หนึ่งสักพักใหญ่ๆ มาแล้วแต่เนื่องด้วยภารกิจต่างๆ เลยทำให้ผมยุ่งๆ และเพิ่งจะมีเวลาที่จะมาตอบคำถามข้อนี้ให้ ซึ่งใขความของคำถามนั้นเป็นดังนี้ครับ “รบกวนสอบถามอาจารย์ว่า หากผมจะตอกเสาเข็มไมโครไพล์ลงไปในดินและก็จะใช้พื้น คอร สำเร็จรูปทำหน้าที่เป็นโครงสร้างผนังรับแรงกระทำของดินทางด้านข้างมันจะใช้งานจริงๆ … Read More

ต่อเติมบ้านทั้งที ต้องดีและไม่ทรุด ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และไอไมโครไพล์ I-micropile ป้องกันการทรุดตัว และแตกร้าวของส่วนต่อเติม

ต่อเติมบ้านทั้งที ต้องดีและไม่ทรุด ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และไอไมโครไพล์ I-micropile ป้องกันการทรุดตัว และแตกร้าวของส่วนต่อเติม ปัญหาที่มัดพบเมื่อต่อเติมบ้าน ถึงแม้จะมีการตอกเสาเข็มแล้ว แต่การตอกเสาเข็มนั้นสั้นเกินไป ไม่ลึกถึงชั้นดินดาน ทำให้ผิดจากมาตรฐานที่ควรจะเป็น ทำให้เกิดการยุบตัวของพื้นดิน และเมื่อการทรุดตัวที่ไม่เท่ากันเกิดขึ้น บ้านและส่วนที่ต่อเติมจึงแยกออกจากกัน หากปัญหานี้เกิดขึ้นแล้ว การแก้ไขคือต้องรื้อส่วนที่ต่อเติมและลงเสาเข็มใหม่ ดังนั้นการที่เราจะทำการต่อเติม จะต้องป้องกันปัญหาให้ถูกจุด … Read More

สร้างใหม่ ให้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม เป็นอีกทางเลือก เพื่อโครงสร้างที่มั่นคง และฐานรากที่แข็งแรง

สร้างใหม่ ให้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม เป็นอีกทางเลือก เพื่อโครงสร้างที่มั่นคง และฐานรากที่แข็งแรง การก่อสร้างใหม่ที่ดี และมีมาตรฐาน ควรมีการตอกเสาเข็มเพื่อเป็นฐานรากในการรองรับน้ำหนักโครงสร้างที่อยู่บนดิน และการตอกเสาเข็มควรตอกให้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง หรือตามรายการคำนวณที่ทางวิศวกรที่มีความชำนวญงานออกแบบ และได้รับการรับรองอย่างถูกต้อง ตามหลักวิศวกรรม เพราะในอนาคตมีโอกาสที่ดินจะยุบตัว หากตอกเสาเข็มสั้นเกินไป ไม่ได้ความลึกตามมาตรฐาน อาจทำให้เสาเข็มทรุดลงไปด้วย ส่งผลทำให้ฐานรากและโครงสร้างเกิดความเสียหาย … Read More

การนำเอาค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผล และค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ ไปใช้ในการทำงานออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ จริงๆ แล้วในวันนี้ผมอยากที่จะขึ้นหัวข้อใหม่แล้วแต่คิดไปคิดมาผมเลยอยากจะขอจบการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องของ ค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผล หรือค่า K และ ค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EULER’S CRITICAL COMPRESSION LOAD … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 19