บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

คอนกรีตงานก่อสร้างทั่วไป

คอนกรีตงานก่อสร้างทั่วไป คุณสมบัติ คอนกรีตประเภทนี้ ถูกออกแบบส่วนผสมตามค่ากำลังอัดที่อายุ 28 วัน และค่าการยุบตัวสำหรับงานเทคอนกรีตทั่วไป และงานเทคอนกรีตด้วยปั๊ม โดยส่วนผสมแปรผันตามค่าอัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์ รวมทั้งมีการผสมคอนกรีตด้วยสารลดน้ำและหน่วงการก่อตัว ตามมาตรฐาน ASTM C 494 ทำให้คอนกรีตมีความสามารถในการทำงานได้ที่เพิ่มขึ้น รวมถึงระยะเวลาการทำงานสำหรับงานคอนกรีตที่นานขึ้น ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตชนิดนี้เหมาะสำหรับการใช้งานทั่วไป และงานเทคอนกรีตที่ต้องใช้คอนกรีตปั๊ม อาทิเช่น … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น 1. สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว 2. ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ 3. ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม … Read More

ต่อเติมบ้าน ด้วย เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile และเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spunmicropile ภูมิสยาม

ต่อเติมบ้าน ด้วย เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile และเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spunmicropile ภูมิสยาม ต่อเติมบ้าน หากตอกเสาเข็มไม่ลึกพอ(ไม่ถึงชั้นดินดาน) อาจพบกับปัญหาการแตกร้าวของผนัง หรืออาจเกิดการทรุดตัวของส่วนที่ต่อเติม จนต้องทุบทิ้ง และการต่อเติมบ้าน ต้องคำนึงถึงแรงสั่นสะเทือนในการตอก เพราะแรงสั่นสะเทือนจากการตอกเสาเข็มสามารถส่งผลต่อโครงสร้างเดิม หรือส่งผลกระทบต่อโครงสร้างบ้านใกล้เคียงได้ และอาจทำให้เกิดปัญหาในภายหลัง ดังนั้นควรเลือกตอกเสาเข็มที่มีแรงสั่นสะเทือนน้อย … Read More

ไมโครไพล์ หรือเสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? ใช้ในงานปรับปรุงโครงสร้างภายในอาคารได้หรือไม่?

ไมโครไพล์ หรือเสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? ใช้ในงานปรับปรุงโครงสร้างภายในอาคารได้หรือไม่? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คือ เสาเข็มที่ถูกออกแบบมาเพื่อการก่อสร้างและต่อเติม เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานราก ตลอดจนงานปรับปรุงโครงสร้างต่างๆที่ต้องการเสริมความมั่นคงแข็งแรง และยังช่วยป้องกันการทรุดตัวของโครงสร้างที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาโครงสร้าง หรือ การทรุดตัวอีกต่อไป อีกทั้งปั้นจั่นที่ใช้ตอกถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อตอบโจทย์การเข้าทำงานในพื้นที่จำกัด ทำให้การเคลื่อนย้ายเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load … Read More

การทำงานติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึดที่มีความไม่เรียบร้อย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากการที่เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสเดินทางไปทำการตรวจการทำงานก่อสร้างที่หน้างานในสถานที่ก่อสร้างแห่งหนึ่งและก็ได้มีโอกาสไปพบเจอกับกรณีของการทำงานกรณีหนึ่งของการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กที่ถือได้ว่ามีความไม่เรียบร้อยเข้าและด้วยความที่ตอนนี้เรากำลังพูดคุยกันเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้เป็นประจำในทุกๆ วันพุธอยู่แล้ว ดังนั้นผมจึงขอนำเอาหัวข้อๆ นี้มาพูดถึงในการโพสต์ของวันนี้ก็แล้วกันนะครับ กรณีของความไม่เรียบร้อยนี้เกิดจากการที่ผมต้องเข้าไปตรวจการทำงานติดตั้ง แผ่นเหล็ก หรือ STEEL BASE PLATE ที่มีการติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึด … Read More

ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อคุณผู้หญิง – วิธีในการออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการยกตัวอย่างเพื่อใช้ในการอธิบายถึงวิธีในการออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ BEAM BEARING PLATE ซึ่งผมก็ได้ใช้วิธีในการออกแบบตามมาตรฐาน AISC โดย วิธีการหน่วยแรงที่ยอมให้ หรือ ALLOWABLE … Read More

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม – ค่าสปริงของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตแชร์และนำเอาบทความดีๆ ที่เขียนโดยท่านอาจารย์ ดร.พัลลภ วิสุทธิ์เมธานุกูล ผู้เขียนหนังสือ “คู่มือวิศวกรรมฐานราก” เอามาฝาก ซึ่งบทความๆ นี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง “ค่าสปริง … Read More

การออกแบบโครงสร้างฐานรากแบบแผ่ หรือ BEARING STRUCTURAL FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณสองสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นมีน้องที่เป็นแฟนเพจของผมท่านหนึ่งได้สอบถามผมเข้ามาผ่านทางช่องทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบโครงสร้างฐานรากแบบแผ่ หรือ BEARING STRUCTURAL FOUNDATION ซึ่งเราก็ได้สนทนากันในหลายๆ ประเด็นเลย หนึ่งในประเด็นที่มีความน่าสนใจก็คือคำถามของน้องท่านนี้ที่ได้สอบถามเข้ามาว่า เพราะเหตุใดในเขต … Read More

เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile อีกทางเลือก สำหรับงานก่อสร้างใหม่ ที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงสูง ตอบโจทย์ทุกงานก่อสร้าง

เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile อีกทางเลือก สำหรับงานก่อสร้างใหม่ ที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงสูง ตอบโจทย์ทุกงานก่อสร้าง เสาเข็มไอไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่มีลักษณะเป็นรูปตัวไอ ถูกออกแบบมาเพื่อการก่อสร้าง และเหมาะสำหรับใช้เป็นฐานราก ของโครงสร้างอาคารใหม่ ที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงสูง ตอบโจทย์ ในเรื่องของการรับน้ำหนักปลอดภัย สามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) และการสร้างใหม่ ต้องใช้เสาเข็มที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูงในการเสริมฐานราก … Read More

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST ซึ่งการทดสอบหาค่าขนาดความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST นั้นจะต้องเริ่มต้นจากการที่เราจะต้องมีข้อมูลหรือหากไม่มีข้อมูลใดๆเลย ต้องทำการคาดเดาก่อนว่าเสาเข็มต้นที่เราต้องการจะทำการทดสอบนั้นจะมีความลึกประมาณเท่าใด หลังจากนั้นก็ให้ทำการสร้างหลุมเจาะขึ้นมาโดยให้อยู่ภายในรัศมีไม่เกินประมาณ 1500 มม. จากตำแหน่งของโครงสร้างเสาเข็มที่เราต้องการที่จะทำการทดสอบ ต่อมาเราจะอาศัยการส่งถ่ายสัญญาณในลักษณะคลื่นลงไป ซึ่งเราจะค่อยๆ ทำการส่งผ่านให้คลื่นดังกล่าวนั้นเดินทางลงไปในโครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสาเข็มโดยที่เรามักจะใช้อุปกรณ์จำพวกค้อนกระแทกให้ทำหน้าที่เป็นตัวออกแรงกระแทกเพื่อที่จะได้ส่งสัญญาณคลื่นนี้ลงไป (โดยที่มีข้อแม้อยู่นิดหนึ่งว่า ด้านบนของโครงสร้างฐานรากหรือโครงสร้างเสาตอม่อนั้นจะต้องมีความต่อเนื่องกันกับโครงสร้างเสาเข็ม) … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 19