ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาผมได้ทำการไลฟ์สดร่วมกันกับทีมงานของภูมิสยามฯ และในวันนั้นผมได้ทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันว่าความแตกต่างระหว่างเสาเข็มที่มีหน้าตัดเป็นรูปทรงตัวไอกับเสาเข็มรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสนั้นมีอะไรบ้าง ซึ่งผมก็เชื่อเหลือเกินว่าคงจะเพื่อนๆ หลายๆ คนที่อยู่ในแฟนเพจของเรานั้นอาจจะมีความสงสัยไม่มากก็น้อยว่าแล้วในกรณีของเสาเข็มที่มีหน้าตัดเป็นรูปทรงกลมละจะมีความเหมือนหรือแตกต่างออกไปจากเสาเข็มที่มีหน้าตัดเป็นรูปทรงตัวไอกับเสาเข็มรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสมากหรือน้อยเพียงใด ดังนั้นในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่องๆ นี้นั่นเองครับ เท้าความไปถึงเนื้อหาที่ผมได้ไลฟ์สดกันสักเล็กน้อยก่อนก็แล้วกันที่ผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนๆ ไปว่า … Read More

โครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลาย หรือ STRUCTURAL STEEL CHECKERED PLATE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตอนนี้เรากำลังพูดถึงเรื่องงาน โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL กันอยู่และหลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงหลายๆ เรื่องที่มีความเกี่ยวพันกันกับโครงสร้างเหล็กรูปพรรณไปแล้ว เช่น โครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL … Read More

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม – การทดสอบดิน หรือ SOIL TEST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หากว่าเพื่อนๆ มีความสงสัยว่า หากเรามีความต้องการที่จะทำโครงสร้างที่จะถูกวางตัวลงไปบนดินโดยตรง หรือ GRADED STRUCTURE เราจะมีวิธีอย่างไรในการที่จะทราบได้ว่า ดินข้างใต้ที่จะทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักโครงสร้างนั้นๆ จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใด วันนี้ผมมีคำแนะนำขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องๆ … Read More

การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง และอาศัยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE STRESS DESIGN METHOD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ก่อนที่ทุกอย่างจะพร้อมสำหรับการไลฟ์สดในทุกๆ วันจันทร์ผมเลยตั้งใจจะพูดถึงและแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ในหัวข้อ “ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง” ไปพลางๆ ก่อนนะครับ ซึ่งหัวข้อในวันนี้ก็คือ ตอนที่เราทำการออกแบบโครงสร้าง หากเราอาศัยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE STRESS DESIGN METHOD นอกจากเราจะต้องทำการควบคุมมิให้ค่าแรงเค้นใช้งานหรือ WORKING STRESS นั้นไม่ให้เกินค่าแรงเค้นที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE … Read More

1 2 3 4