ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ปัญหาการเลือกวิธีในการตอกเสาเข็มแซมในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงให้เห็นถึงแบบแปลนของโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 2 ต้น หรือ F2 … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในแต่ละหน้าแต่ละหัวข้อไปพร้อมๆ กันนะ โดยที่ในวันนี้ผมก็จะเริ่มจากหน้าที่ 1 กันก่อนเลย ซึ่งก็คือรูปที่ผมได้นำเอามาประกอบคำอธิบายในวันนี้นะครับ ทั้งนี้ก็จะเริ่มต้นจากการตรวจสอบก่อนว่า โครงสร้างคาน คสล ของผม ซึ่งจากรายการคำนวณจะแสดงให้เห็นว่าคาน … Read More

เทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

เทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อคุณผู้หญิง – วิธีในการออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการยกตัวอย่างเพื่อใช้ในการอธิบายถึงวิธีในการออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ BEAM BEARING PLATE ซึ่งผมก็ได้ใช้วิธีในการออกแบบตามมาตรฐาน AISC โดย วิธีการหน่วยแรงที่ยอมให้ หรือ ALLOWABLE … Read More

ตอบปัญหาเสถียรภาพในแนวดิ่งของโครงสร้างสระว่ายน้ำ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องที่ได้มีการไลฟ์สดไปในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมต้องการที่จะทำการออกแบบโครงสร้างสระว่ายน้ำชนิดวางตัวอยู่บนดิน ซึ่งเจ้าโครงสร้างสระว่ายน้ำนี้ก็จะฝังตัวจมลงไปอยู่ภายในดินเดิมซึ่งก็จะเห็นได้ว่ามีระดับของน้ำใต้ดินรวมอยู่ด้วยดังในรูป ทั้งนี้หากว่าน้ำหนักในแนวดิ่งในทิศทางลงนั้นประกอบไปด้วยค่าดังต่อไปนี้ (1) น้ำหนักของโครงสร้างเองจะมีค่าเท่ากับ 5 ตัน (2) น้ำหนักของดินที่อยู่ทางด้านข้างจะมีค่าเท่ากับ 3 … Read More

งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง – โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากเพื่อนๆ มีความประสงค์ที่จะทำการก่อสร้างต่อเติมส่วนของอาคารเพื่อที่จะใช้เป็นบันไดหนีไฟที่มีขนาดความสูงเท่ากับ 5 ชั้น (รวมชั้นดาดฟ้า) ซึ่งทางสถาปนิกได้เลือกทำการออกแบบและก่อสร้างโดยใช้วัสดุหลักเป็นโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ โดยที่อาคารหลังนี้มีจุดประสงค์ในการใช้งานเป็นอาคารถาวร … Read More

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม – ค่าสปริงของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตแชร์และนำเอาบทความดีๆ ที่เขียนโดยท่านอาจารย์ ดร.พัลลภ วิสุทธิ์เมธานุกูล ผู้เขียนหนังสือ “คู่มือวิศวกรรมฐานราก” เอามาฝาก ซึ่งบทความๆ นี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง “ค่าสปริง … Read More

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หากเพื่อนๆ มีโอกาสที่จะต้องไปทำการสำรวจอาคารที่มีการก่อสร้างเอาไว้แต่เดิมเพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่งซึ่งหนึ่งในการะบวนการที่สำคัญขั้นตอนหนึ่งในการสำรวจอาคารก็คือ เรื่องโครงสร้างเสาเข็ม ตามปกติแล้วในการสำรวจอาคารเราอาจจะสามารถทำการเปิดโครงสร้างไปจนถึงปลายด้านล่างสุดของโครงสร้างฐานรากได้เลย ซึ่งก็จะทำให้เรานั้นสามารถที่จะมองเห็นได้ว่าโครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นโครงสร้างเสาเข็มชนิดใด ก่อสร้างด้วยกรรมวิธีการใด มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเป็นเท่าใด แต่ สิ่งที่จะเป็นปัญหาหนักที่สุดที่เพื่อนๆ อาจจะต้องพบเจอก็จะเป็นคำถามว่า … Read More

การทำงานติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึดที่มีความไม่เรียบร้อย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากการที่เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสเดินทางไปทำการตรวจการทำงานก่อสร้างที่หน้างานในสถานที่ก่อสร้างแห่งหนึ่งและก็ได้มีโอกาสไปพบเจอกับกรณีของการทำงานกรณีหนึ่งของการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กที่ถือได้ว่ามีความไม่เรียบร้อยเข้าและด้วยความที่ตอนนี้เรากำลังพูดคุยกันเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้เป็นประจำในทุกๆ วันพุธอยู่แล้ว ดังนั้นผมจึงขอนำเอาหัวข้อๆ นี้มาพูดถึงในการโพสต์ของวันนี้ก็แล้วกันนะครับ กรณีของความไม่เรียบร้อยนี้เกิดจากการที่ผมต้องเข้าไปตรวจการทำงานติดตั้ง แผ่นเหล็ก หรือ STEEL BASE PLATE ที่มีการติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึด … Read More

1 2 3 4